ประกาศ โรงพยาบาลทุ่งใหญ่
เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อคัดเลือกจ้างลูกจ้างชั่วคราว (รายเดือน) ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ (อันล่าง)
โรงพยาบาลทุ่งใหญ่
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อให้แน่ใจว่าได้รับประสบการณ์ที่ดีที่สุดและถูกต้องตาม PDPA การใช้เว็บไซต์นี้ต่อไปแสดงว่าคุณยอมรับการใช้งานเว็บไซต์นี้ เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับนโยบายความเป็นส่วนตัวของเรา
นายแพทย์ปกป้อง เศวตชนะ
รักษาการในตำแหน่ง
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทุ่งใหญ่
|| ABOUT SERVICE ||
ก้าวสู่ โรงพยาบาลทุ่งใหญ่5.0 ยุคใหม่ ใส่ใจดูแลประชาชน ดุลญาติพี่น้อง
เป้าประสงค์ของหน่วยงาน
กลยุทธ์
1. SO : พัฒนาศักยภาพบุคลากร
2. SO : พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ
3. WO : พัฒนาโครงสร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความสุขประชาชนได้รับบริการที่ดี
4. WO : การบริหารการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ
5. WO : พัฒนาระบบดูแลสุขภาพร่วมกับภาคีเครือข่าย
ลิงค์หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
|| บทความสาระน่ารู้ ||
ประโยชน์ของมะละกอมีค่อนข้างมาก มีสรรพคุณเป็นทั้งยารักษาโรค และยังมีวิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น วิตามินซี วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 3 ธาตุแคลเซียม ธาตุโซเดียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก โปรตีน เป็นต้น
หัวปลีมีฤทธิ์เย็น มีสรรพคุณทางยามากมาย นำมาปรุงอาหาร ทานดิบ หรือสุกก็ได้ และที่สำคัญหัวปลีกล้วยอุดมไปด้วยแร่ธาตุที่จำเป็น เช่น ฟอสฟอรัส แคลเซียม โพแทสเซียม ทองแดง แมกนีเซียม และธาตุเหล็ก ซึ่งมีความสำคัญต่อการทำงานของร่างกายหลายอย่าง
ฟักทองอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุมากมายที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 3 วิตามินบี 5 วิตามินบี 6 วิตามินซี วิตามินอี ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุแคลเซียม ธาตุโพแทสเซียม ธาตุโซเดียม ธาตุแมงกานีส ธาตุเหล็ก ซิงค์ เป็นต้น
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีประโยชน์มากมาย เพราะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ไม่เพียงเป็นการให้อาหารเพื่อให้ลูกอิ่มและสามารถเจริญเติบโตขึ้นได้เท่านั้น แต่การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังเป็นการส่งเสริมกระบวนการพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพ
มีการวิจัยเรื่องใบรางจืดสามารถปกป้องตับ ซึ่งเป็นอวัยวะที่กำจัดสารพิษในร่างกาย ซึ่งเป็นกลไกหนึ่งที่ช่วยรักษาชีวิตของผู้ที่ได้รับสารพิษ
การเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกาย อารมณ์ และสภาพจิตใจ ของผู้สูงอายุมีผลต่อการกินอาหารที่ต้องเอาใจใส่ดูแลเป็นพิเศษ
ท้องผูกเป็นภาวะที่พบได้บ่อยโดยพบประมาณร้อยละ 10 ของประชากรทั่วไป และพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายประมาณ 2 เท่า
ไซยาไนด์ “ ชื่อนี้คงจะคุ้นหูว่าเป็น “ ยาพิษ “ ที่มักใช้กินเพื่อฆ่าตัวตาย ขณะเดียวกันคนส่วนใหญ่ก็ยังไม่เคยเห็นหน้าตาของไซยาไนด์เสียด้วยซ้ำไป
|| ให้เราช่วยคุณไหม ||
สถิติเว็บไซต์